คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา พ 22103                                                  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2                                                                                 ภาคเรียนที่ 1

เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน                                                                 จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเพิ่มพูนความรู้เบื้องตันเกี่ยวกับกีฬาบาสเกตบอล การดูแลรักษาสุขภาพและการสร้าง เสริม

สมรรถภาพทากายในการเล่นทำบาสเกตบอล เกมนำไปสู่การฝึกทักษะกีฬาบาสเกตบอล ทักษะ พื้นฐาน

ของกีฬาบาสเกตบอล ทักษะและเทคนิคในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลในระดับแข่งขัน โดยใช้กระบวนการ

ทางพลศึกษา ความสมารถในการคิด การแก้ปัญหา การสื่อสาร การใช้ ทักษะชีวิตในการดูแลและสร้างเสริม

สุขภพและสมรรถภาพทากายของตนอง รวมทั้งออกกลังกาย ปฏิบัติกฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นกีฬา

บาสเกตบอลตามคำแนะนำ เพื่อให้รักกาเรียนรู้ในวิชาพลศึกษา เห็นความสำคัญของการมีสุขภาพและ

สมรถภาพ ทางกายที่ดี ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา และมีจิตสาธารณะ

 

ผลการเรียนรู้

 

1. อธิบายและนำเสนอความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกีฬาบาสเกตบอลได้อย่างถูกต้อง

2. อธิบายและแสดงวิธีกรดูแลรักษาสุขภาพและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย

ในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลได้อย่างถูกต้อง

3. อธิบายเกี่ยวกับเกมนำไปสู่กีฬาบาสเกตบอล

4. อธิบายและแสดงทักษะพื้นฐานของกีฬาบาสเกตบอล

5. อธิบายและแสดงทักษะและเทคนิคในกรเล่นบาสเกตบอลระดับแข่งขันได้อย่างถูกต้อง

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา                                                             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ภาคเรียนที่ 1                                                       เวลาเรียน 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ลำดับที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

สาระความสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล

ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล ประโยชน์จากการเล่นกีฬาบาสเกตบอล วิธีการดูแลรักษาอุปกรณ์และความปลอดภัยในการกีฬาบาสเกตบอล มารยาทในการเป็นผู้เล่นและผู้ชมที่ดี การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสำหรับนักกีฬาบาสเกตบอล

2

10

2

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น

การเคลื่อนไหวเบื้องต้นเป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ และการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ การเดิน การวิ่ง การกระโดด การหยุด การหมุนตัว การทรงตัว การเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและการกลับหลัง

2

-

3

การครองครอบและการสร้างความคุ้นเคย

มีทักษะการครอบครองลูกที่ดี สามารถครอบครองลูกได้นานก็สามารถเป็นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับได้ดีและนำไปสู่การทำคะแนนได้ และการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลเป็นการสร้างความคุ้นชิน

2

-

4

ทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล

มีทักษะพื้นฐานการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล การรับลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก การส่งลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก และการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คน

3

30

5

ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล

มีทักษะพื้นฐานการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล การเลี้ยงลูกด้วยมือข้างเดียว การเลี้ยงลูกทั้งสองมือ เป็นทักษะที่เป็นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับสามารถทำทำคะแนนได้

2

-

6

ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล

มีทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล การยืนยิงประตู การกระโดดยิงประตู การเลย์อัพ การยิงประตูบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขันบาสเกตบอล

6

30

7

การเล่นทีม

การเล่นทีมในกีฬาบาสเกตบอลเป็นสิ่งสำคัญเพราะต้องมีความเข้าใจกันในทีมมีความสามัคคีกันฝ่ายในทีม เพื่อนร่วมทีมมีความสำคัญมาก

3

10

สอบปลายภาค

 

20

รวมตลอดปี/ภาคเรียน

20

100

 

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้

สระการเรียนรู้วิชาพลศึกษา                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง         ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล                   จำนวน 2 ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล

1. สามารถบอกประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอลได้ (K)

2. สามารถเขียนประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอลได้ (P)

3. มีความรับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A)

ปฐมนิเทศการเรียนการสอนเรื่องประวัติความเป็นมาของกีฬาบาสเกตบอลทั้งในไทยและต่างประเทศ

1

10

2

กฎ กติกา บาสเกตบอล

1. สามารถบอกกฎ กติกาบาสเกตบอลได้ (K)

2. สามารถเขียนกฎ กติกาบาสเกตบอลได้ (P)

3. มีความรับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A)

กฎ กติกาบาสเกตบอล มารยาทของผู้เล่นที่ดีและมารยาทของผู้ชมที่ดี การเป็นผู้เล่นที่ดี และมีมารยาทต่อทีมคู่แข่ง

1

-

รวม

2

10

 

 

 

 

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้

สระการเรียนรู้วิชาพลศึกษา                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง         การเคลื่อนไหวเบื้องต้น                                    จำนวน 2 ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่

1. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ไปใช้ได้ (A)

การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่เป็นการเคลื่อนไหวเบื้องต้นในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

1

-

2

การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่

1. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ไปใช้ได้ (A)

การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่เป็นการเคลื่อนไหวเบื้องต้นในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

1

-

รวม

2

-

 

 

 

 

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้

สระการเรียนรู้วิชาพลศึกษา                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง         การครอบครองและการสร้างความคุ้นเคย           จำนวน 2 ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

การครอบครองลูกบาสเกตบอล

1. บอกทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

ทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอล เป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

1

-

2

การสร้างความคุ้นเคยลูกบาสเกตบอล

1. บอกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการสร้างความคุ้นเคยไปใช้ได้ (A)

ทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลเป็นการสร้างความคุ้นเคยเป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

1

-

รวม

2

-

 

 

 

 

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้

สระการเรียนรู้วิชาพลศึกษา                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง         ทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล                      จำนวน 3 ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

การรับ-ส่งลูกกระดอนพื้น

1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นไปใช้ได้ (A)

การรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้นเป็นทักษะพื้นฐานของกีฬาบาสเกตบอล

1

10

2

การรับ-ส่งลูกระดับอก

1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกระดับอกได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกระดับอกได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกระดับอกไปใช้ได้ (A)

การรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลระดับอกเป็นทักษะพื้นฐานของกีฬาบาสเกตบอล การรับ-ส่งลูกระดับอกเป็นหัวใจสำคัญของการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

1

10

3

การรับ-ส่งลูกอ้อมหลัง

1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คนได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คนได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลังไปใช้ได้ (A)

การรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลอ้อมหลัง 3 คน เป็นทักษะในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลเป็นทีม

1

10

รวม

3

30

 

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้

สระการเรียนรู้วิชาพลศึกษา                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง         ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล                       จำนวน 2 ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียว

1. บอกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียว (A)

ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวทั้งระดับต่ำและระดับสูง เป็นทักษะพื้นฐานและทักษะการเลี้ยงลูกเป็นหัวใจสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล

1

-

2

ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา

1. บอกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา (A)

ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา เป็นทักษะสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล ทักษะการเลี้ยงลูกเป็นหัวใจสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล

1

-

รวม

2

-

 

 

 

 

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้

สระการเรียนรู้วิชาพลศึกษา                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง         ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล                       จำนวน 6 ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

ทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล

1. อธิบายทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอลโดยการยืนในแต่ล่ะระยะ การยืนในระยะใกล้ได้และเป็นหัวใจสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล

2

10

2

ทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

1. อธิบายทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

ทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลในระยะไกล การยิงประตูในกีฬาบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการเล่นทีมบาสเกตบอล

2

10

3

ทักษะการเลย์อัพ

1. อธิบายทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลย์อัพไปใช้ได้ (A)

ทักษะการเลย์อัพเป็นการทำคะแนนของกีฬาบาสเกตบอลที่เป็นการทำคะแนนระยะใกล้เป็นทักษะที่นักกีฬาบาสเกตบอลใช้เป็นส่วนใหญ่ในการทำคะแนนได้อย่างแม่นยำมากที่สุด

2

10

รวม

6

30

 

 

 

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้

สระการเรียนรู้วิชาพลศึกษา                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง         ทักษะการเล่นทีม                                       จำนวน 3 ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระสำคัญ

เวลา (ชั่วโมง)

น้ำหนัก (คะแนน)

1

ตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ

1. บอกตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับได้ (K)

2. เขียนตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับได้ (P)

3. เห็นคุณค่าของตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ (A)

ตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ เป็นปัจจัยสำคัญของการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

1

-

2

ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุก

1. อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกไปใช้ได้ (A)

ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกในกีฬาบาสเกตบอลเป็นการเล่นบาสเกตบอลที่ต้องใช้ทักษะเกมรุก

1

5

3

ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับ

1. อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับได้ (K)

2. ปฏิบัติทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับได้ (P)

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับไปใช้ได้ (A)

ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับในกีฬาบาสเกตบอลเป็นการเล่นบาสเกตบอลที่ต้องใช้ทักษะเกมรับ

1

5

รวม

3

10

 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

                                                                   รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล                                   จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล                      จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล ประโยชน์จากการเล่นกีฬาบาสเกตบอล วิธีการดูแลรักษาอุปกรณ์และความปลอดภัยในการกีฬาบาสเกตบอล มารยาทในการเป็นผู้เล่นและผู้ชมที่ดี การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสำหรับนักกีฬาบาสเกตบอล

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

การนำผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับทักษะกลไกและทักษะการเคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายมาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมในบริบทของตนเองในการเล่นกีฬา

ตัวชี้วัด

          พ 3.1 ม 2/1 ความรู้ความเข้าใจและบอกประวัติความเป็นมาของบาสเกตบอล ประโยชน์ มารยาทการเป็นผู้เล่นและผู้ดูที่ดี

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสมารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. สามารถบอกประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอลได้ (K)

          2. สามารถเขียนประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอลได้ (P)

          3. มีความรับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A)

สาระการเรียนรู้

          ปฐมนิเทศการเรียนการสอนเรื่องประวัติความเป็นมาของกีฬาบาสเกตบอลทั้งในไทยและต่างประเทศ

ภาวะงาน/ชิ้นงาน

          รายงานเกี่ยวกับประวัติกีฬาบาสเกตบอล

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว ให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย

=  ครู

 =  นักเรียน

2. เช็คชื่อนักเรียน ตรวจเครื่องแต่งกาย เล็บ ถามนักเรียนว่ามีใครป่วยหรือไม่สบายบ้าง

3. ชี้แจงเกี่ยวกับคะแนนเก็บในรายวิชานี้ให้นักเรียนฟัง

4. ถามนักเรียนว่ารู้จักกีฬาบาสเกตบอลไหมและมีใครเล่นได้บ้าง

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. อธิบายประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอลทั้งในไทยและต่างประเทศให้นักเรียนฟัง

6. อธิบายเกี่ยวกับขนาดสนาม ขนาดของลูกบาสเกตบอล ขนาดของเส้นสนามแต่ละเส้น อุปกรณ์บาสเกตบอลและทักษะพื้นฐานบาสเกตบอลให้นักเรียนฟัง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 10 คน และให้ส่งตัวแทนมาจับฉลากว่ากลุ่มไหนได้หัวข้องานไหน

8. ให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันค้นหาข้อมูลจากหัวข้อที่ได้

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

9. สั่งให้ทำรายงานตามหัวข้อของแต่ล่ะกลุ่มและทำ Mind map ใส่กระดาษชาร์ต พร้อมนำเสนอในอาทิตย์หน้า  

- คำสั่ง

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

10. ให้ช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนและสรุปงานที่

11. ให้นักเรียนเข้าแถวให้เรียบร้อย ปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามกีฬาของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

          2. ข้อมูลประวัติกีฬาบาสเกตบอล

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. สามารถบอกประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. สามารถเขียนประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 3. มีความรับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล                                   จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง กฎ กติกา บาสเกตบอล                                     จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                 วันที่                                                 

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          ประวัติความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล ประโยชน์จากการเล่นกีฬาบาสเกตบอล วิธีการดูแลรักษาอุปกรณ์และความปลอดภัยในการกีฬาบาสเกตบอล มารยาทในการเป็นผู้เล่นและผู้ชมที่ดี การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสำหรับนักกีฬาบาสเกตบอล กฎ กติกาบาสเกตบอล มารยาทของผู้เล่นที่ดีและมารยาทของผู้ชมที่ดี การเป็นผู้เล่นที่ดีและมีมารยาทต่อทีมคู่แข่ง

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

การนำผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับทักษะกลไกและทักษะการเคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายมาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมในบริบทของตนเองในการเล่นกีฬา

ตัวชี้วัด

          พ 3.1 ม 2/1 ความรู้ความเข้าใจและบอกประวัติความเป็นมาของบาสเกตบอล ประโยชน์ มารยาทการเป็นผู้เล่นและผู้ดูที่ดี

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสมารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. สามารถบอกกฎ กติกาบาสเกตบอลได้ (K)

          2. สามารถเขียนกฎ กติกาบาสเกตบอลได้ (P)

          3. มีความรับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A)

สาระการเรียนรู้

          กฎ กติกาบาสเกตบอล มารยาทของผู้เล่นที่ดีและมารยาทของผู้ชมที่ดี การเป็นผู้เล่นที่ดีและมีมารยาทต่อทีมคู่แข่ง

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว ให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย

=  ครู

 =  นักเรียน

2. เช็คชื่อนักเรียน ตรวจเครื่องแต่งกาย เล็บ ถามนักเรียนว่ามีใครป่วยหรือไม่สบายบ้าง

3. ถามนักเรียนว่ารู้กฎ กติกากีฬาบาสเกตบอลไหม

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

4. อธิบายกฎ กติกาบาสเกตบอลให้ฟัง

5. สาธิตกฎ กติกาโดยการจำลองสถานการณ์ที่ผิดกฎ กติกาให้นักเรียนเห็นภาพเหตุการณ์

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

6. ให้นักเรียนเข้ากลุ่มที่แบ่งกันไว้ในสัปดาห์ที่แล้ว

7. ให้แต่ละกลุ่มเตรียมตัวที่จะออกมานำเสนองานที่ได้รับมอบหมายไปในสัปดาห์ที่แล้ว

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนองานของกลุ่มตัวเอง

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ช่วยกันสรุปเนื้อหาของกฎและกติกาบาสเกตบอล

10. ให้นักเรียนเข้าแถวให้เรียบร้อยปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. สามารถบอกกฎ กติกาบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. สามารถเขียนกฎ กติกาบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 3. มีความรับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

           

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                   รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเคลื่อนไหวเบื้องต้น                                                   จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่                                  จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          การเคลื่อนไหวเบื้องต้นเป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ และการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ การเดิน การวิ่ง การกระโดด การหยุด การหมุนตัว การทรงตัว การเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและการกลับหลัง

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่เป็นการเคลื่อนไหวเบื้องต้นในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

 1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

 3. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก  

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

4. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่การทรงตัว โดยการยืนแยกเท้าห่างกันประมาณช่วงไหล่ ให้น้ำหนักเฉลี่ยที่เท้าทั้งสองข้างและค่อนไปทางปลายเท้า เข่างอและโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย หน้ามองตรงและแขนกางออกเล็กน้อย ยืนในลักษณะกล้ามเนื้อผ่อนคลาย

5. สาธิตการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่การทรงตัว

6. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่การหมุนตัว จากท่าทรงตัวจับลูกบอลเตรียมพร้อม งอเข่าย่อเล็กน้อยใช้เท้าซ้ายหรือขวาเป็นเท้าหลัก ก้าวเท้าอีกเท้าหนึ่งที่ไม่เป็นเท้าหลักก้าวไปด้านหน้าลักษณะหมุนไปรอบๆ เท้าหลัก พยายามแยกเท้าทั้งสองข้างให้ห่างจากกันมากกว่าปกติ

7. สาธิตการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่การหมุนตัว

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

8. ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่การทรงตัว 10 ครั้ง

9. ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่การหมุนตัว 10 ครั้ง

10. ปฏิบัติทักษะการทรงตัวและหมุนตัวไปพร้อมกัน 10 ครั้ง

- คำสั่ง

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลึก 3 แถว แถวละ 10 คน ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการทรงตัวและหมุนตัวพร้อมส่งลูกบาสเกตบอลให้เพื่อนแข่งกัน

- คำสั่ง

- อธิบาย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

12. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

13. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

14. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่

15. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                          

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเคลื่อนไหวเบื้องต้น                                                   จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่                                 จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          การเคลื่อนไหวเบื้องต้นเป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ และการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ การเดิน การวิ่ง การกระโดด การหยุด การหมุนตัว การทรงตัว การเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและการกลับหลัง

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่เป็นการเคลื่อนไหวเบื้องต้นในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก  

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

4. อธิบายทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่โดยการเคลื่อนที่ไปด้านข้าง ด้านหน้าและด้านหลัง

5. สาธิตทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่โดยการเคลื่อนที่แบบเปลี่ยนทิศทาง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

6. ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหนแบบเคลื่อนที่ไปด้านข้างซ้ายขวาตามแบบฝึก


  = ครู                      

   = นักเรียน

               = กรวย        

               = ทิศทางการวิ่ง

7. ให้นักเรียนเคลื่อนที่ไปด้านหน้าและด้านหลัง และเปลี่ยนทิศทาง


= ครู

 = นักเรียน

= กรวย        

            = ทิศทางการวิ่ง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 2 กลุ่ม เท่าๆกัน ให้นักเรียนเคลื่อนที่เปลี่ยนทิศทาง


= ครู

 = นักเรียน

= กรวย      

            = ทิศทางการวิ่ง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                 รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การครอบครองและการสร้างความคุ้นเคย                              จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การครอบครองลูกบาสเกตบอล                            จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการครอบครองลูกที่ดี สามารถครอบครองลูกได้นานก็สามารถเป็นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับได้ดีและนำไปสู่การทำคะแนนได้ และการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลเป็นการสร้างความคุ้นชิน

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. บอกทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอล เป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียนรู้

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก  

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 6 แถว และอธิบายการสร้างความคุ้นเคยและการครอบครองลูก

= ครู

 = นักเรียน

6. อธิบายและสาธิตการสร้างความคุ้นเคยและการครอบครองลูก 3 ระดับ ต่ำ กลาง และสูง ให้นักเรียนดู พร้อมทั้งให้นักเรียนถามเพื่อความเข้าใจ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- นกหวีด

- ลูกบอลเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนฝึกท่าการสร้างความคุ้นเคยตามแบบฝึก

8. การส่งลูกบาสเกตบอลรอบตัว ให้ยืนแยกเท้าประมาณช่วงไหล่  ย่อตัวลง  มือถือลูกบอลอยู่ข้างหน้าและให้ส่งลูกบอลรอบตัวเองโดยเริ่มจากข้อเท้าก่อน แล้วเลื่อนให้สูงขึ้นจนถึงศีรษะ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบอลเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

9. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 2 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เข้าแถวตอนลึกห่างกันประมาณ 1 ช่วงแขน ให้คนหัวแถวถือลูกบาสเกตบอลแล้วให้นักเรียนเอาลูกบาสเกตบอลส่งรอบตัวให้คนถัดไปทำเหมือนกันไปเรื่อยๆจนถึงจนสุดท้ายแข่งกัน

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบอลเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

10. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

11. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

12. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการครอบครอบลูกบาสเกตบอลและการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอล

 13. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. บอกทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการครอบครองลูกบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การครอบครองและการสร้างความคุ้นเคย                              จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างความคุ้นเคยลูกบาสเกตบอล                      จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการครอบครองลูกที่ดี สามารถครอบครองลูกได้นานก็สามารถเป็นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับได้ดีและนำไปสู่การทำคะแนนได้ และการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลเป็นการสร้างความคุ้นชิน

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. บอกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการสร้างความคุ้นเคยไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลเป็นการสร้างความคุ้นเคยเป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียนรู้

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก  

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 6 แถว และอธิบายการสร้างความคุ้นเคย

= ครู

 = นักเรียน

6. อธิบายและสาธิตการส่งลูกบาสเกตบอลลอดขาในลักษณะหมุนเป็นเลขแปด พร้อมทั้งให้นักเรียนถามเพื่อความเข้าใจ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนฝึกท่าการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลตามแบบฝึก

8. ให้ส่งลูกบาสเกตบอลลอดขาในลักษณะหมุนเป็นเลขแปด ยืนแยกขาประมาณช่วงไหล่ ย่อตัวลงพอสมควร มือถือลูกอยู่ข้างหน้า ให้ส่งลูกบอลมือต่อมือลอดไประหว่างขาของตนเองในลักษณะหมุนเป็นเลขแปด

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

9. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เล่นเกม “ส่งลูกบอลขึ้นลงห้วย”

วิธีเล่นแต่ละกลุ่มเข้าแถวตอนลึกห่างกันประมาณ 1 ช่วงแขนคนหน้าสุดของแต่ละแถวถือลูกบาสเกตบอลไว้ เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้คนแถวหน้าสุดส่งลูกบาสเกตบอลข้ามศีรษะของตนเองไปให้คนที่อยู่ด้านหลังรับไว้ แล้วส่งลูกบาสเกตบอลลอดระหว่างขาทั้งสองข้างของตนเองให้คนถัดไป คนถัดไปส่งลูกบาสเกตบอลข้ามศีรษะให้คนถัดไป ทำเช่นนี้สลับกันไป เมื่อลูกบาสเกตบอลถึงคนสุดท้ายแล้ว ให้คนสุดท้ายวิ่งนำลูกบาสเกตบอลมาซ้อนด้านหน้าแถวแล้วส่งลูกบอลให้คนถัดไป ทำแบบนี้เรื่อยๆ จนครบคน แล้วนั่งลง  กลุ่มไหนทำครบก่อน กลุ่มนั้นชนะ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

10. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

11. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

12. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการครอบครอบลูกบาสเกตบอลและการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอล

 13. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. บอกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลูกบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการสร้างความคุ้นเคยไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

 

 

 

 

 

 

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                          

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล                                         จำนวน 3 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง การรับ-ส่งลูกกระดอนพื้น                                   จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร               วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะพื้นฐานการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล การรับลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก การส่งลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก และการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คน

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          การรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้นเป็นทักษะพื้นฐานของกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน และเข้าแถวตอนลึกห่างกัน 1 ช่วงแขน ให้แถวที่ 1 และ 2 หันหน้าเข้าหากัน แถวที่ 3 และ 4 หันหน้าเข้าหากัน

= ครู

 = นักเรียน

6. อธิบายและสาธิตทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้น โดยให้ตัวแทนนักเรียนลุกขึ้นมา 1 คน และสาธิตทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้นให้นักเรียนดู

- คำสั่ง

- อธิบาย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้นไปมา

= ครู

 = นักเรียน

8. ให้นักเรียนจับกลุ่ม 4 คน และให้นักเรียนยืนที่จุดกรวยตั้งไว้ และให้นักเรียนรับส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้น โดยให้คนที่อยู่กรวยที่ 1 ถือลูกบาสเกตบอลแล้วส่งลูกกระดอนพื้นให้คนที่อยู่กรวยที่ 2 แล้ววิ่งไปที่กรวยที่ 3 ให้คนที่อยู่ที่กรวยที่ 3 วิ่งมาแทนที่และรับลูกบาสเกตบอลจากคนที่อยู่กรวยที่ 2 ส่งลูกแล้ววิ่งไปที่กรวยที่ 4 แล้วให้คนที่อยู่กรวยที่ 4 วิ่งมาแทนที่และรับลูกบาสเกตบอลจากคนที่ 3 ทำแบบนี้จำนวน 10 ครั้ง


   = ครู

             = นักเรียน

             = ลูกบาสเกตบอล

  = กรวย

= ทิศทางการส่งลูกบาสเกตบอล

             = ทิศทางการวิ่ง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

9. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน และเข้าแถวตอนลึกห่างกัน 1 ช่วงแขน ให้แถวที่ 1 และ 2 หันหน้าเข้าหากัน แถวที่ 3 และ 4 หันหน้าเข้าหากัน ให้ทั้ง 2 ทีมแข่งกันโดยการรับส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้น ทีมไหนเป็นฝ่ายชนะ


= ครู

 = นักเรียน

          = ลูกบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

10. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

11. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

12. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลกระดอนพื้น

 13. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

 

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกกระดอนพื้นไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

 

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                      กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล                                           จำนวน 3 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง การรับ-ส่งลูกระดับอก                                       จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะพื้นฐานการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล การรับลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก การส่งลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก และการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คน

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกระดับอกได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกระดับอกได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกระดับอกไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          การรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลระดับอกเป็นทักษะพื้นฐานของกีฬาบาสเกตบอล การรับ-ส่งลูกระดับอกเป็นหัวใจสำคัญของการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน และเข้าแถวตอนลึกห่างกัน 1 ช่วงแขน ให้แถวที่ 1 และ 2 หันหน้าเข้าหากัน แถวที่ 3 และ 4 หันหน้าเข้าหากัน

= ครู

 = นักเรียน

6. อธิบายและสาธิตทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลระดับอก โดยให้ตัวแทนนักเรียนลุกขึ้นมา 1 คน และสาธิตทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลระดับอกให้นักเรียนดู

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกบาสเกตบอลระดับอกไปมา

= ครู

 = นักเรียน

8. ให้นักเรียนเข้าตอนลึก 4 แถว ให้รับ-ส่งลูกบาสเกตบอลไปมาฝั่งตรงกันข้าม รับ-ส่งลูกบาสเกตบอลแล้ววิ่งไปต่อแถวด้านหลังของแถวให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลในเวลา 1 นาที ทำให้ถูกทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลตามแบบฝึกการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลระดับอก


= ครู

  = นักเรียน

             = ลูกบาสเกตบอล

           = ทิศทางการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล

         = ทิศทางการวิ่ง

- คำสั่ง

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- นาฬิกาจับเวลา

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้


9. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลึก 3 แถว แบ่งคนให้เท่าๆกัน แล้วยืนตรงกรวยที่วางเป็นรูปสามเหลี่ยมหันหน้าเข้าหากันโดยให้ผู้เล่นส่งลูกไปให้แถวใดก็ให้วิ่งไปต่อท้ายแถวนั้นเช่น คนที่อยู่แถวที่ 4 ส่งลูกให้แถวที่ 5 แล้ววิ่งไปต่อท้ายแถวที่ 5 คนที่อยู่แถวที่ 5 ส่งลูกให้แถวที่ 6 แล้ววิ่งไปต่อท้ายแถวที่ 6 คนที่อยู่ที่ 6 ส่งลูกให้คนที่อยู่แถวที่ 4 แล้ววิ่งไปต่อท้ายแถวที่ 4 จับเวลา 1 นาที

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- นาฬิกาจับเวลา

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

10. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

11. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

12. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลระดับอก

 13. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกระดับอกได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกระดับอกได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกระดับอกไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

 

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                          

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล                                         จำนวน 3 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง การรับ-ส่งลูกอ้อมหลัง                                       จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะพื้นฐานการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอล การรับลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก การส่งลูกกระดอนพื้น การรับลูกระดับอก และการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คน

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คนได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คนได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลังไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          การรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลอ้อมหลัง 3 คน เป็นทักษะในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลเป็นทีม

 

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. อธิบายทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลอ้อมหลัง 3 คน

6. อธิบายพร้อมสาธิตทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลอ้อมหลัง 3 คน ให้นักเรียนตัวแทนห้องออก 2 คน เพื่อมาสาธิตให้เพื่อนๆดู

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนจับกลุ่ม 3 คน แล้วปฏิบัติทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลอ้อมหลัง 3 คน ดังนี้

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้นักเรียนจับกลุ่ม 3 คน แล้วรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลอ้อมหลัง 3 คน ไปและกลับโดยการจับเวลา 2 นาที

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด
- ลูกบาสเกตบอล

- นาฬิกาจับเวลา

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการรับ-ส่งลูกบาสเกตบอลอ้อมหลัง 3 คน

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คนได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลัง 3 คนได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการรับส่งลูกอ้อมหลังไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                            

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                   รหัส พ 22103รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล                                           จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียว                   จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะพื้นฐานการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล การเลี้ยงลูกด้วยมือข้างเดียว การเลี้ยงลูกทั้งสองมือ เป็นทักษะที่เป็นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับสามารถทำทำคะแนนได้

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. บอกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียว (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวทั้งระดับต่ำและระดับสูง เป็นทักษะพื้นฐานและทักษะการเลี้ยงลูกเป็นหัวใจสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน และเข้าแถวตอนลึกหันหน้าเข้าหากัน

= ครู

 = นักเรียน

6. อธิบายและสาธิตทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซิกแซกอ้อมกรวยไปกลับ แล้วส่งลูกบาสเกตบอลให้เพื่อนแถวตรงข้าม

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซิกแซกอ้อมกรวยไปกลับ แล้วส่งลูกบาสเกตบอลให้เพื่อนแถวตรงข้าม


= ครู                     = ทิศทางการวิ่ง

 = นักเรียน

            = กรวย

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลึก 2 แถว แบ่งให้เท่าๆกัน ห่างกันพอประมาณ และหันหน้าเข้าหากัน ให้คนหัวแถวของทั้ง 2 ฝ่าย ถือลูกบาสเกตบอล แล้วให้เลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวไปข้างหน้าแล้วไปอ้อมหลักหรือคนของอีกทีมไปและกลับแล้วเลี้ยงบาสเกตบอลไปส่งให้ทีมตัวเองและก็วิ่งไปต่อท้ายแถวตัวเอง ทำแบบนี้ทั้ง 2 ทีม ทีมไหนทำครบทุกคนแล้วเสร็จก่อนเป็นฝ่ายชนะ





= ครู

                          = นักเรียน                        

                   = ทิศทางการวิ่ง                            

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. บอกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียว (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                            

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                   รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล                                           จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา        จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 4

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                        

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะพื้นฐานการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล การเลี้ยงลูกด้วยมือข้างเดียว การเลี้ยงลูกทั้งสองมือ เป็นทักษะที่เป็นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับสามารถทำทำคะแนนได้

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. บอกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา เป็นทักษะสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล ทักษะการเลี้ยงลูกเป็นหัวใจสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลึกและอธิบายทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา

6. อธิบายและสาธิตทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาอ้อมกรวยที่ตั้งไว้ตามแบบฝึก

- คำสั่ง

- อธิบาย

- ลูกบาสเกตบอล

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลึก 4 แถว หันหน้าเข้าหากันและปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาตามแบบฝึกเลี้ยงลูกบาสเกตบอลไปและกลับ



= ครู

  = นักเรียน

= กรวย

          = ทิศทางการวิ่ง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

-ลูกบาสเกตบอล

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลึก 4 แถว หันหน้าเข้าหากัน ให้คนหัวแถวฝั่งใดก็ได้ถือลูกบาสเกตบอล 2 แถว แล้วให้ปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลตามแบบฝึกที่ปฏิบัติไป แต่ให้ฝั่งที่ถือลูกบาสเกตบอลเลี้ยงลูกบาสเกตบอลไปถึงเพื่อนอีกฝั่งแล้วส่งให้เพื่อนอีกฝั่งแล้ววิ่งไปต่อท้ายแถวที่ตัวเองส่งลูกให้แล้วนั่งลง และคนที่ได้ลูกแล้วเลี้ยงลูกบาสเกตบอลไปถึงเพื่อนอีกฝั่งแล้วส่งลูกให้เพื่อนแล้ววิ่งไปต่อท้ายแถวที่ตัวเองส่งลูกบาสเกตบอลให้แล้วนั่งลงแข่งกันว่าทีมไหนนั่งหมดทุกคนก่อนชนะฝ่ายในเวลา 1 นาที



= ครู

  = นักเรียน

= กรวย

          = ทิศทางการวิ่ง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. บอกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวาได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลมือเดียวซ้าย-ขวา (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                         

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                   รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล                                          จำนวน 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล                        จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์  นิลเพ็ชร                        วันที่                                                         

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล การยืนยิงประตู การกระโดดยิงประตู การเลย์อัพ การยิงประตูบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขันบาสเกตบอล

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอลโดยการยืนในแต่ล่ะระยะ การยืนในระยะใกล้ได้และเป็นหัวใจสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลึก 4 แถว ห่างกัน 1 ช่วงแขน อธิบายทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล

6. อธิบายและสาธิตทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้นักเรียนปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล โดยเข้าแถวตอนลึก 4 แถวและให้แถวที่ 1 และแถวที่ 2 หันหน้าเข้าหากัน แถวที่ 3 และแถวที่ 4 หันหน้าเข้าหากัน และให้ลูกบาสเกตบอลแถวที่ 1 และแถวที่ 3 และให้ปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลแต่ใช้การยืนชู้ตลูกบาสเกตบอลไปหาเพื่อนที่อยู่ฝั่งตรงข้ามกันชู้ตกันไปมา

 = ครู

   = นักเรียน

                = ลูกบาสเกตบอล

                = ทิศทางการส่งลูกบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้เข้าแถวตอน 1 แถว ให้นักเรียนถือลูกบาสเกตบอลแล้วแข่งกันยืนชู้ตลูกบาสเกตบอลให้ลงห่วง โดยการจับเวลา 1 นาที ในเวลา 1 นาทีชู้ตลงห่วงบาสเกตบอลได้กี่ลูก ทำ 2 ครั้ง

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                   รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล                                          จำนวน 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง ทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล                        จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร               วันที่                                                                  

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล การยืนยิงประตู การกระโดดยิงประตู การเลย์อัพ การยิงประตูบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขันบาสเกตบอล

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอลโดยการยืนในแต่ล่ะระยะ การยืนในระยะใกล้ได้และเป็นหัวใจสำคัญของกีฬาบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้นักเรียนเข้าแถว 2 แถวตอนลึก และอธิบายทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล

6. อธิบายและสาธิตทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้ปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล โดยการเข้าแถวตอนลึก 2 แถว และให้คนหัวแถวถือลูกบาสเกตบอลไว้แล้วส่งให้เพื่อนที่ยืนอยู่ตรงกลางและคนที่ส่งลูกบาสเกตบอลให้ก็วิ่งไปข้างหน้าตรงที่กรวยว่างอยู่แล้วรอรับลูกบาสเกตบอลจากเพื่อนที่ส่งให้แล้วยืนยิงประตูบาสเกตบอลยิงประตูบาสเกตบอลแล้ววิ่งไปต่อท้ายแถว




                    = ห่วงบาสเกตบอล

      =  ครู

        = นักเรียน

                    = ลูกบาสเกตบอล

                    = ทิศทางการวิ่ง

                    = ทิศทางการส่งลูก

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้เข้าแถวตอนลึก 2 แถว ให้นักเรียนวิ่งซิกแซกอ้อมกรวยแล้วรับลูกบาสเกตบอลแล้วยืนยิงประตูบาสเกตบอล แข่งกันโดยการจับเวลาทีมละ 1 นาที แข่งกันว่าทีมใดยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้มากกว่ากันเป็นฝ่ายชนะ



           = ครู

            = นักเรียน

                     = ห่วงบาสเกตบอล

                    = กรวย

                     = ลูกบาสเกตบอล

                    = ทิศทางการวิ่ง

                     = ทิศทางการยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- กรวย

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอล

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

 

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการยืนยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                         

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล                                          จำนวน 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 เรื่อง ทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล                   จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                         

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล การยืนยิงประตู การกระโดดยิงประตู การเลย์อัพ การยิงประตูบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขันบาสเกตบอล

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลในระยะไกล การยิงประตูในกีฬาบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการเล่นทีมบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้เข้าแถวตอนลึก 2 แถว และอธิบายทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

6. อธิบายและสาธิตทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้เข้าแถวตอนลึก 2 แถว และให้กระโดดยิงประตูบาสเกตบอลโดยการผลัดกัน 2 แถว กระโดดยิงประตูบาสเกตบอลแล้วให้ไปวิ่งต่อท้ายแถวอีกแถว ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆ


       = ครู

         = นักเรียน

                    = ห่วงบาสเกตบอล

                    = ลูกบาสเกตบอล        

                    = ทิศทางการวิ่ง

                    = ทิศทางยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้แบ่งทีม 2 ทีม เท่าๆกัน แล้วให้แข่งกันปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลโดยการยืนอยู่ตรงกรวยแล้วกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลผลัดกับเพื่อนร่วมทีมปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลให้ครบทุกกรวยที่ว่างแข่งกัน จับเวลาทีมละ 1 นาที ทีมไหนยิงประตูบาสเกตบอลได้มากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ



       = ครู

         = นักเรียน

                    = กรวย

                    = ห่วงบาสเกตบอล

                    = ทิศทางการยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กรวย

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- นาฬิกาจับเวลา

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

 

 

 

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103 รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล                                          จำนวน 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 เรื่อง ทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล                   จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์  นิลเพ็ชร                       วันที่                                                         

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล การยืนยิงประตู การกระโดดยิงประตู การเลย์อัพ การยิงประตูบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขันบาสเกตบอล

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลในระยะไกล การยิงประตูในกีฬาบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการเล่นทีมบาสเกตบอล

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้เข้าแถวตอนลึก 3 แถว และอธิบายทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

6. อธิบายและสาธิตทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้เข้าแถวตอนลึก 3 แถว ให้ปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลโดยให้วิ่งเลี้ยงลูกบาสเกตบอลอ้อมกรวยจนถึงจุดที่ให้กระโดดยิงประตูบาสเกตบอล



     = ครู

          = นักเรียน

                    = กรวย

                    = ห่วงบาสเกตบอล

                     = ลูกบาสเกตบอล

                    = ทิศทางการวิ่ง

                    = ทิศทางการยิงประตูบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- นกหวีด

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้แบ่งทีม 2 ทีม เท่าๆกัน ให้แข่งกันกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลโดยการวิ่งอ้อมกรวยที่ตั้งไว้ จับเวลาทีมละ 1 นาที ทีมไหนยิงประตูบาสเกตบอลได้มากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กรวย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการกระโดดยิงประตูบาสเกตบอลไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                            

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                          รหัส พ 22103 รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล                                          จำนวน 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง ทักษะการเลย์อัพ                                           จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                   

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล การยืนยิงประตู การกระโดดยิงประตู การเลย์อัพ การยิงประตูบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขันบาสเกตบอล

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลย์อัพไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการเลย์อัพเป็นการทำคะแนนของกีฬาบาสเกตบอลที่เป็นการทำคะแนนระยะใกล้เป็นทักษะที่นักกีฬาบาสเกตบอลใช้เป็นส่วนใหญ่ในการทำคะแนนได้อย่างแม่นยำมากที่สุด

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้เข้าแถวตอนลึก 5 แถว อธิบายทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอล

6. อธิบายและสาธิตทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้เข้าแถวตอนลึก 1 แถว ให้ปฏิบัติทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลโดยการวิ่งขึ้นมาเลย์อัพให้ลูกบาสเกตบอลลงห่วงบาสเกตบอล




= ครู

  = นักเรียน

          = กรวย

          = ห่วงบาสเกตบอล

          = ทิศทางการวิ่ง

          = ทิศทางการเลย์อัพ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- นาฬิกาจับเวลา

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้เข้าแถวตอนลึก 1 แถว ปฏิบัติทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลโดยการวิ่งขึ้นมาเลย์อัพให้ลูกบาสเกตบอลลงห่วงบาสเกตบอล โดยการจับเวลา 1 นาที ฝ่ายในเวลา 1 นาที ทำการเลย์อัพได้อีกครั้งในเวลา 1 นาที ทำ 2 รอบว่าใน 2 รอบทำการเลย์อัพในรอบไหนมากกว่ากัน โดยการปฏิบัติ 2 ครั้ง และจับเวลาใน 2 ครั้ง ครั้งละ 1 นาที




= ครู

  = นักเรียน

          = กรวย

          = ห่วงบาสเกตบอล

          = ทิศทางการวิ่ง

          = ทิศทางการเลย์อัพ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอล

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

 

 

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลย์อัพไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                   รหัส พ 22103 รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล                                          จำนวน 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 เรื่อง ทักษะการเลย์อัพ                                           จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร               วันที่                                                                  

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          มีทักษะการยิงประตูบาสเกตบอล การยืนยิงประตู การกระโดดยิงประตู การเลย์อัพ การยิงประตูบาสเกตบอลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขันบาสเกตบอล

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลย์อัพไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการเลย์อัพเป็นการทำคะแนนของกีฬาบาสเกตบอลที่เป็นการทำคะแนนระยะใกล้เป็นทักษะที่นักกีฬาบาสเกตบอลใช้เป็นส่วนใหญ่ในการทำคะแนนได้อย่างแม่นยำมากที่สุด

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้เข้าแถวตอนลึก 5 แถว อธิบายทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอล

6. อธิบายและสาธิตทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอล

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้เข้าตอนลึก 1 แถว ให้เลี้ยงลูกบาสเกตบอลอ้อมกรวยแล้วเข้าไปทำการเลย์อัพใต้ห่วงบาสเกตบอล




          = ครู

          = นักเรียน

                     = กรวย

                    = ห่วงบาสเกตบอล

                    = ลูกบาสเกตบอล

                     = ทิศทางการวิ่ง

                    = ทิศทางการเลย์อัพ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- นกหวีด

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้เข้าตอนลึก 1 แถว ให้เลี้ยงลูกบาสเกตบอลอ้อมกรวยแล้วเข้าไปทำการเลย์อัพใต้ห่วงบาสเกตบอล โดยการจับเวลา 1 นาที ทำการเลย์อัพลงห่วงบาสเกตบอลได้เท่าในการเล่น 2 ครั้ง จับเวลาครั้งละ 1 นาที




           = ครู

           = นักเรียน

                     = กรวย

                     = ห่วงบาสเกตบอล

                     = ลูกบาสเกตบอล

                     = ทิศทางการวิ่ง

                     = ทิศทางการเลย์อัพ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กรวย

- ลูกบาสเกตบอล

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอล

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเลย์อัพบาสเกตบอลได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเลย์อัพไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                  รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ทักษะการเล่นทีม                                                          จำนวน 3 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 เรื่อง ตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ                      จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                         

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          การเล่นทีมในกีฬาบาสเกตบอลเป็นสิ่งสำคัญเพราะต้องมีความเข้าใจกันในทีมมีความสามัคคีกันฝ่ายในทีม เพื่อนร่วมทีมมีความสำคัญมาก

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. บอกตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับได้ (K)

          2. เขียนตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับได้ (P)

          3. เห็นคุณค่าของตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ (A)

สาระการเรียนรู้

          ตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ เป็นปัจจัยสำคัญของการเล่นกีฬาบาสเกตบอล

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้เข้าแถวตอนลึก 5 แถว อธิบายตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ

6. อธิบายและสาธิตตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- กรวย

- กระดาษ

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้แบ่งทีม ทีมละ 5 คน และเขียนตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับ และให้ยืนตามตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับและปฏิบัติทักษะการเล่นทีม

- คำสั่ง

- อธิบาย

- กระดาษ

- นกหวีด

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้แบ่งทีม ทีมละ 5 คน และเล่นทีมแข่งกันทีมไหนทำคะแนนได้ก่อน ทีมที่ทำคะแนนไม่ได้เปลี่ยนออกให้ทีมต่อไปเข้ามาเล่นทีม

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. บอกตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. เขียนตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. เห็นคุณค่าของตำแหน่งของผู้เล่นทั้งฝ่ายรุก-ฝ่ายรับ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                         

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                 รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ทักษะการเล่นทีม                                                          จำนวน 3 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 เรื่อง ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุก                                   จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร               วันที่                                                                  

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          การเล่นทีมในกีฬาบาสเกตบอลเป็นสิ่งสำคัญเพราะต้องมีความเข้าใจกันในทีมมีความสามัคคีกันฝ่ายในทีม เพื่อนร่วมทีมมีความสำคัญมาก

ผลการเรียนรู้

1. อธิบายและแสดงทักษะพื้นฐานของกีฬาบาสเกตบอล

2. อธิบายและแสดงทักษะและเทคนิคในกรเล่นบาสเกตบอลระดับแข่งขันได้อย่างถูกต้อง

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกในกีฬาบาสเกตบอลเป็นการเล่นบาสเกตบอลที่ต้องใช้ทักษะเกมรุก

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้เข้าแถวตอนลึก 5 แถว อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุก

6. อธิบายและสาธิตการเล่นทีมฝ่ายรุก และสาธิตการเล่นทีม

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้แบ่งทีม ทีมละ 5 คน ปฏิบัติทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกและฝ่ายรับสลับกัน โดยการเล่นทีม

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. ให้แบ่งทีมแข่งกัน แข่งทีมกัน ฝ่ายไหนเวลา 2 นาที ทีมไหนทำคะแนนได้ก่อนอยู่ในสนามต่อ ทีมไหนทำคะแนนไม่ได้ออกให้ทีมอื่นเข้ามา แต่ถ้าฝ่ายในเวลา 2 นาทียังไม่มีทีมไหนทำคะแนนได้ออกทั้ง 2 ทีม

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุก

12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

 

 

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3.  สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเล่นทีมฝ่ายรุกไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

 

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้

                                                                   รหัส พ 22103  รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน                                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ทักษะการเล่นทีม                                                          จำนวน 3 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 เรื่อง ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับ                                   จำนวน 1 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปี 2

ผู้สอน  นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร                        วันที่                                                           

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

          การเล่นทีมในกีฬาบาสเกตบอลเป็นสิ่งสำคัญเพราะต้องมีความเข้าใจกันในทีมมีความสามัคคีกันฝ่ายในทีม เพื่อนร่วมทีมมีความสำคัญมาก

มาตรฐานการเรียนรู้

  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

พ 3.1 ม 2/2 ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการเคลื่อนที่  เสิร์ฟลูก

สมรรณะสำคัญ

          1. ความสามารถในการคิด

          2. ความสามารถในการสื่อสาร

          3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          1. มีความรับผิดชอบ

          2. มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

          1. อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับได้ (K)

          2. ปฏิบัติทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับได้ (P)

          3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับไปใช้ได้ (A)

สาระการเรียนรู้

          ทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับในกีฬาบาสเกตบอลเป็นการเล่นบาสเกตบอลที่ต้องใช้ทักษะเกมรับ

 

 

 

 

กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม

วิธีการสอน

สื่อ/อุปกรณ์

การประเมินผล

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ให้นักเรียนเข้าแถว ตอน 5 แถว ครูให้นักเรียนนั่งลงให้เรียบร้อย  

=  ครู

 =  นักเรียน

 2. ครูเช็คชื่อนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การเจ็บป่วยไม่สบายของนักเรียน

3. แจ้งจุดประสงค์ในการเรียน

4. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นรูปตัว U นำยืดเหยียดกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ แขน ขา สะโพก

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต

5. ให้เข้าแถวตอนลึก 5 แถว อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับเป็นการตั้งเกมรับ

6. อธิบายและสาธิตการเล่นทีมฝ่ายรับ และสาธิตการเล่นทีมฝ่ายรับเป็นการตั้งเกมรับ

- คำสั่ง

- อธิบาย

- สาธิต

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ

7. ให้แบ่งทีม ทีมละ 5 คน จับคู่กับทีมตรงข้าม ให้อีกทีมเป็นฝ่ายรุก และอีกทีมเป็นฝ่ายรับแล้วผลัดกันเป็นทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับ โดยการจับคู่ใครคู่มันและป้องกันไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามเข้ามาทำคะแนนได้

- คำสั่ง

- อธิบาย

- ลูกบาสเกตบอล

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 4 นำไปใช้

8. แบ่งทีม ทีมละ 5 คน แข่งกันโดยการจับเวลา 1 นาที ทีมไหนทำคะแนนได้ก่อนเล่นต่อ แต่ทีมไหนทำคะแนนไม่ได้ก่อนอีกทีมออกให้อีกทีมเข้ามาเล่น แต่ถ้าทั้ง 2 ทีมทำคะแนนกันไม่ได้ฝ่ายในเวลา 1 นาที ให้ออกทั้ง 2 ทีม และเปลี่ยนให้ทีมที่ต่อเข้าแข่งกัน

- คำสั่ง

- อธิบาย

- นกหวีด

- นาฬิกาจับเวลา

- ลูกบาสเกตบอล

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ขั้นที่ 5 สรุป

9. ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

10. ให้นักเรียนเข้าแถวเป็นวงกลม ยืดคลายกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ เช่น คอ หัวไหล่ แขน สะโพก เข่า ขา ข้อเท้า

11. ให้นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว แล้วช่วยกันสรุปทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับ

 12. ครูปล่อยให้นักเรียนไปล้างมือ ชำระร่างกาย ล้างหน้า และปล่อยให้ไปเรียนในคาบต่อไป

- คำสั่ง

- อธิบาย

-

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้

          1. สนามบาสเกตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์

วิธีการวัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

 1. อธิบายทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับได้ (K)

- การถามตอบ

- คำถาม

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

 2. ปฏิบัติทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับได้ (P)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

3. สนุกสนานกับการเรียนและสามารถนำทักษะการเล่นทีมฝ่ายรับไปใช้ได้ (A)

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

- แบบประเมินผลด้านคุณลักษณะ

คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ประเมินใบงาน    

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. การมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนส่วนมากมีส่วนร่วมในการทำงาน

นักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในการทำงาน

 2. การปฏิบัติงาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจปฏิบัติงาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจปฏิบัติงาน

 3. การนำเสนองาน

นักเรียนทุกคนตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนส่วนมากตั้งใจนำเสนองาน

นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจนำเสนองาน

เกณฑ์ประเมินผลด้านคุณลักษณะ

ประเด็นการประเมิน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 (ดี)

2 (พอใช้)

1 (ปรับปรุง)

 1. มีระเบียบวินัย

นักเรียนทุกคนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนบางส่วนมีระเบียบวินัยในการเรียน

นักเรียนไม่มีระเบียบวินัยในการเรียน

 2. ใฝ่เรียนรู้

นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนบางส่วนมีความใฝ่เรียนรู้

นักเรียนไม่มีความใฝ่เรียนรู้

 3. มีจิตสาธารณะ

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จตามเป้าหมาย

ให้ความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มสำเร็จได้บางส่วน

ไม่ให้ความร่วมมือในกลุ่ม

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ

          คะแนน 9-12 หมายถึง ดี

          คะแนน 8-5 หมายถึง พอใช้

          คะแนน 4-1 หมายถึง ปรับปรุง

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

          ด้านความรู้ (Knowledge : K)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านกระบวนการ (Process : P)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ด้านคุณลักษณอันพึงประสงค์ (Attribute : A)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          ปัญหาและอุปสรรค

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

          แนวทางการแก้ไข

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

                                                                                                                  

                                                          ลงชื่อ……………………………………………………ผู้สอน

                                                  นาย นพรัตน์ นิลเพ็ชร

                                                 ตำแหน่งครู

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………ผู้ตรวจ

(                                                        )

                                                                          หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหาร

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           

ลงชื่อ……………………………………………………

(                                                        )

แนะนำตนเอง

นายนพรัตน์ นิลเพ็ชร

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

คลังสื่อการเรียนรู้

 

 

วิธีล้างมือ 7 ขั้นตอนให้ถูกต้อง ป้องกัน COVID-19

ใส่หน้ากากอนามัยอย่างไร ถึงจะเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันCOVID-19 ได้

ค้นหา

Online

 

 

 

เข้าสู่ระบบ

จำนวนผู้เข้าชมเว็บ

เนื้อหาที่เปิดอ่าน
124508

ผู้เข้าชมออนไลน์

มี 217 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์